The 2015 United Nations Conference on Climate Change (COP 21) adopted the Paris Agreement on 12 December 2015 establishing the international collaborative framework for ambitious climate action with the aim to, among others, hold the global average temperature increase to well below 2 °C above pre-industrial levels. The Paris Agreement entered into force on 4 November 2016.
Article 6 of the Paris Agreement allows Parties to engage in international voluntary cooperation in the implementation of their climate plans and targets with the objective to allow for higher ambition and promote sustainable development and environmental integrity, including through the use of market-based approaches.
Article 6 of the Paris Agreement consists of three components:
(1) Cooperative approaches that involves the use of internationally transferred mitigation outcomes (ITMOs)
(2) A mechanism to contribute to the mitigation of greenhouse gas emissions and support sustainable development established by Article 6.4 of the Paris Agreement (Article 6.4 Mechanism)
(3) A framework for non-market approaches to sustainable development
The Conference of the Parties requested the Subsidiary Body for Scientific and Technological Advice (SBSTA), comprising of representatives from member countries of the UNFCCC, to develop and recommend the guidance, rules, modalities, procedures (RMP) and decisions to operationalize cooperative implementation under Article 6 of the Paris Agreement.
Current status: The SBSTA initiated the process to develop the guidance, RMP and draft decisions on Article 6 in 2016. At COP 25 in December 2019, the Parties took note of the draft texts which have been prepared by the COP 25 President and will continue its consideration with the aim to finalize and recommend the draft decisions for adoption during COP 26.
Roles of the UNFCCC, Governments and Activity participants
UNFCCC (Conference of the Parties)International market-based cooperation currently implemented in Thailand Joint Crediting Mechanism (JCM) between Thailand and Japan
Pre-pilot exploration for possible future cooperation
TGO, together with relevant government agencies and partner organizations, supports Thailand’s readiness preparation to engage in international market-based cooperation in order to promote low-carbon society growth and strengthen Thailand’s contribution to the global collective efforts towards the goals of the Paris Agreement.
Activities of TGO
A1: เฉพาะกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจกที่มีการถ่ายโอนผลการลดก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมดังกล่าวในระดับระหว่างประเทศ เพื่อใช้ในการบรรลุเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกภายใต้ข้อตกลงระหว่างประเทศ หรือ ขึ้นทะเบียนเป็นกิจกรรมภายใต้ Article 6.4 Mechanism เท่านั้น ที่จะอยู่ภายใต้บังคับของ Article 6
การใช้กลไกตลาดภายในประเทศ อาทิ ระบบซื้อขายสิทธิในการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Emissions trading scheme) ที่ไม่มีการเชื่อมโยงกับต่างประเทศ หรือ กลไกคาร์บอนเครดิตที่มีการซื้อ-ขายภายในประเทศเท่านั้น จะไม่เข้าข่ายที่ต้องดำเนินการตาม Article 6
^ กลับสู่ด้านบน ^ |
A2: การใช้กลไกตลาดระหว่างประเทศภายใต้ความตกลงปารีส ข้อที่ 6 มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของประเทศในการลดก๊าซเรือนกระจก จึงมุ่งเน้นที่กิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจกที่มีศักยภาพสูง แต่ในปัจจุบันมีข้อจำกัดในการดำเนินงาน อาทิ ต้นทุนในการลงทุนสูง หรือ ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่งการใช้กลไกตลาดจะช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงแหล่งทุนและเทคโนโลยีดังกล่าวและทำให้กิจกรรมสามารถเกิดขึ้นได้เร็วขึ้นและเกิดประสิทธิผลมากขึ้น
ผู้ประกอบการที่สนใจสามารถศึกษารายละเอียดของกลไกความร่วมมือที่ประเทศไทยดำเนินการในปัจจุบัน หรือ ติดต่อองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) เพื่อปรึกษาช่องทางในการเข้าถึงการสนับสนุนและโอกาสความเป็นไปได้ในการพัฒนาต่อยอดกิจกรรมที่มีศักยภาพโดยใช้เครื่องมือกลไกตลาดระหว่างประเทศ
^ กลับสู่ด้านบน ^ |
A3: Article 6 เป็นบทบัญญัติภายใต้ความตกลงปารีส ซึ่งมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2559 ในทางปฏิบัติ การพัฒนาความร่วมมือด้านกลไกตลาดระหว่างประเทศภายใต้บริบทของความตกลงปารีส ข้อที่ 6.2 จึงสามารถดำเนินการได้ระหว่างประเทศที่สนใจ โดยประเทศที่จัดทำความร่วมมือจะต้องตระหนักด้วยว่า
1) เมื่อมีการรับรองแนวปฏิบัติสำหรับความตกลงปารีส ข้อที่ 6.2 แล้ว การดำเนินความร่วมมือดังกล่าวจะต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับ (“consistent with”) แนวปฏิบัติดังกล่าวด้วย
2) ผลการลดก๊าซเรือนกระจกที่คาดว่าจะสามารถนำไปใช้ได้ จะเป็นผลการลดก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2564 (ค.ศ. 2021) เป็นต้นไป
ในขณะที่ การใช้กลไก Article 6.4 Mechanism ยังต้องรอให้มีการรับรองกฎการดำเนินงาน แต่งตั้งคณะกรรมการกำกับดูแล และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นในการดำเนินงานเสียก่อน
^ กลับสู่ด้านบน ^ |
A4: ความตกลงปารีสเปิดโอกาสสำหรับการใช้กลไกตลาดระหว่างประเทศที่หลากหลายรูปแบบมากขึ้น แตกต่างจากเดิมซึ่งพิธีสารเกียวโตกำหนดกลไกส่งเสริมความยืดหยุ่นไว้กำจัดเฉพาะ 3 กลไกเท่านั้น (EI, JI และ CDM) อย่างไรก็ตาม ข้อกำหนดในการใช้กลไกตลาดระหว่างประเทศภายใต้ความตกลงปารีสมีความเข้มงวดมากขึ้น เพื่อส่งเสริมความน่าเชื่อถือและความโปร่งใสในการดำเนินงาน รวมทั้งได้กำหนดหลักการในการหลีกเลี่ยงการนับซ้ำของผลการลดก๊าซเรือนกระจกระหว่างประเทศภาคีไว้ด้วย
^ กลับสู่ด้านบน ^ |